วันอังคารที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558





















ออกแบบบรรจุภัณฑ์ดงมะเขือ



วันอังคารที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2558

สรุปแปลข่าวสาร

OnlyFruit
5f5c28c6d85d48299c3b981943c84e88.jpg
Healthy snacks somehow never look as delicious and fun as the sugary unhealthy stuff. Only fruit is a playful packaging concept for 100% natural fruit bars. Instead of a conventional logo, the packaging features a dynamic logo: the letter U assumes a different fruit shape depending on the flavor. Bright colors, playful lettering and surreal characters are meant to attract the attention of anyone looking for a healthy alternative to candy.
The concept is built around the secret life of fruit; those guys are always up to something when no one is looking. Each flavor is represented by a surreal character with a fun and unique personality. The tiny brand ambassadors will not only tackle your hunger, but will also set your imagination on fire!

คำแปลตรงตัวจาก Google
ของว่างก็ไม่เคยดู อร่อยและสนุกเป็นสิ่งที่ไม่ไพเราะ แค่ผลไม้เป็นแนวคิดบรรจุภัณฑ์ขี้เล่น 100% บาร์ผลไม้ธรรมชาติ แทนโลโก้เดิมโลโก้บรรจุภัณฑ์คุณสมบัติแบบไดนามิก : อักษร U จะเป็นรูปผลไม้ที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับการปรุงแต่งรส สีสดใส , ตัวอักษรและอักขระจริง ขี้เล่นเพื่อดึงดูดความสนใจของทุกคนที่กำลังมองหาทางเลือกเพื่อสุขภาพขนม
เป็นแนวคิดที่สร้างขึ้นรอบ ๆชีวิตลับของผลไม้ ; พวกเขาเสมอถึงบางสิ่งบางอย่าง เมื่อไม่มีใครกำลังมองหา แต่ละรส แทนด้วยตัวอักษรภาพ ด้วยความสนุกและบุคลิกภาพที่ไม่ซ้ำกัน ทูตแบรนด์เล็กจะไม่เพียงแก้ไขปัญหาความหิวของคุณ แต่จะตั้งค่าจินตนาการของคุณในไฟ !
แปลโดยสรุปใจความด้วยตนเอง
บรรจุภัณฑ์นี้ เป็นบรรจุภัณฑ์ของ ของกินเล่นที่สื่อให้เห็นความสนุก และอร่อย แนทคิดบรรจุภัณฑ์คือออกแนวนุกสนาน จากผลไม้ธรรมชาติ 100% โลโก้คำว่า FRUIT ใช้รูปผลไม้แทนตัว U รูปผลไม้จะแตกต่างกันตามการปรุงแต่งตามรสชาด เน้นสีสันสดใส ตัวอักษรน่ารักๆเพื่อดึงดูดความสนใจ เป็นทางเลือกให้ทุกคนที่กำลังมองหาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
แนวคิดของบรรณจุภัณฑ์นี้ได้มาจากผลไม้ แต่ล่ะรสชาดจะแทนด้วยอักษรภาพ ที่มีบุคลิกไม่ซ้ำกัน ผลิตภัณฑ์นี้ไม่เพียงแก้ปัญหาความหิวได้เท่านั้น ยังสามารถสร้างจินตนาการได้อีกด้วย

a591d52c1c14fc14830ad849eb482bb5.jpg

a2e600327c5ed16bc78bd0702a16836e.jpg



Petit - Natural Juice
14.png
Orange, lemon or grape? What you choose?
 
These funny collectible juice packaging were developed with all our affection for children, “les petits”.

With tetra pack packaging that retain more natural juices, all packages have been designed in a sustainable use, with papers and returnable bottles.

คำแปลตรงตัวจาก Google
ส้ม , มะนาวหรือองุ่น สิ่งที่คุณเลือก ?
ตลกเหล่านี้สะสมน้ำผลไม้บรรจุภัณฑ์ได้รับการพัฒนาของเราด้วยความรักสำหรับเด็ก " les petits "
กับเตตร้าแพ็คบรรจุภัณฑ์ที่รักษาธรรมชาติมากขึ้น ผลไม้ แพคเกจทั้งหมดได้รับการออกแบบในการใช้อย่างยั่งยืน ด้วยกระดาษและขวดคืน .

แปลโดยสรุปใจความด้วยตนเอง
ส้ม มะนาว หรือองุ่น คุณเลือกอะไร?
บรรจุภัณฑ์นี้เป็น บรรจุภัณฑ์สำหรับน้ำผลไม้ ที่ได้รับการพัฒนามาจากความรักที่มีให้กับเด็ก " les petits " เป็นบรรจุภัณฑ์ที่รักษาธรรมชาติ แพคเกจทั้งหมดได้รับการออกแบบให้ใช้อย่างยั่งยืน โดยกล่องทำจากกระดาษ และขวด เป็นขวดที่ใช้แล้วคือเพื่อนำไปบรรจุใหม่

15.png
16.png

Gawatt emotions
263ad8fce85b35b7fd8e1a440fa37154.jpg
The Challenge
Above the main identity of the Gawatt take-out coffee-shop, we had a task of creating a limited series of souvenir cups.
The Solution
We came up with an idea of cups with altering emotions. Customers can change the face expression of their cup personage by turning the exterior sleeve.

Working Group
Art director: Stepan Azaryan
Graphic Designer: Karen Gevorgyan
Illustrator: Narine Manvelyan

คำแปลตรงตัวจาก Google
ความท้าทาย
เหนือเอกลักษณ์หลักของ gawatt ออกจากร้านกาแฟ เรามีงานของการสร้างชุด จำกัด ของที่ระลึกถ้วย
โซลูชั่น
เรามาขึ้นกับความคิดของถ้วยด้วยการเปลี่ยนอารมณ์ ลูกค้าสามารถเปลี่ยนใบหน้าการแสดงออกของถ้วยของบุคคลโดยการเปิดแขนด้านนอก
การทำงานกลุ่ม
ผู้กำกับศิลป์ : ลุง azaryan
ออกแบบกราฟฟิก : gevorgyan กะเหรี่ยง
ภาพประกอบ : Narine manvelyan

แปลโดยสรุปใจความด้วยตนเอง
เป็นความท้าทาย ที่จะออกแบบเอกลักษณ์ของแก้วกาแฟให้มีความแตกต่างจากร้านอื่น ทำเป็นของที่มีจำนวนจำกัด และเป็นของที่ระลึกไปในตัว
ได้แนวคิดมาจากใบหน้าที่เปลี่ยนอารมณ์ ลูกค้าสามารถเปลี่ยนใบหน้าได้โดยการหมุนแก้วด้านใน (แก้วจะมี 2 ชั้น)
กลุ่มผู้ออกแบบ
ผู้กำกับศิลป์ : Stepan Azaryan
ออกแบบกราฟฟิก : Karen Gevorgyan
ภาพประกอบ : Narine Manvelyan

e987c17e93abecc3a94cdd585e81178d.jpg
c78151059d63f17deabc28de7a7f7c61.jpg

วันจันทร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2558

การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์

การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์


การออกแบบกราฟฟิกหมายถึง การสร้างสรรค์ลักษณะ ส่วนประกอบภายนอกของ
โครงสร้างบรรจุภัณฑ์ ให้สามารถสื่อสาร สื่อความหมาย ความเข้าใจ (to communicate)
ในอันที่จะให้ผล ทางจิตวิทยา ต่อผู้อุปโภค บริโภคเช่น ให้ผลในการดึงดูด ความสนใจการให้มโนภาพถึงสรรพคุณ ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ ยี่ห้อผลิตภัณฑ์ผู้ผลิต ด้วยการใช้วิธี การออกแบบ การจัดวางรูป ตัวอักษร ถ้อยคำ โฆษณา เครื่องหมายและสัญลักษณ์ ทางการค้า แล ะอาศัยหลักศิลปะการ จัดภาพให้เกิดการประสานกลมกลืน กันอย่างสวยงาม ตามวัตถุประสงค์ ที่ได้วางไว้ ดังภาพที่ 8
    การออกแบบกราฟฟิก บรรจุภัณฑ์ สามารถสร้างสรรค์ได ้ทั้งลักษณะ 2 มิติบนพื้นผิวแผ่นราบของวัสด ุเช่น กระดาษ แผ่นพลาสติก แผ่นโลหะอาบดีบุก หรืออลูมิเนียม โฟมฯลฯ ก่อนนำวัตถุต่าง ๆ เหล่านี้ประกอบกัน เป็นรูปทรงของบรรจุภัณฑ์ ส่วนในลักษณะ 3 มิติก็อาจทำได้ 2กรณีคือ ทำเป็นแผ่นฉลาก (label)หรือแผ่นป้าย ที่นำไปติดบนแผ่นบรรจุภัณฑ์ประเภท rigid forms ที่ขึ้นรูปมาเป็นภาชนะบรรจุสำเร็จมาแล้ว หรืออาจจะสร้างสรรค์บนผิวภาชนะบรรจุ รูปทรง 3มิติโดยตรงก็ได้เช่น ขวดแก้ว ขวดพลาสติกเป็นต้น ซึ่งลักษณะของการออกแบบกราฟฟิกบรรจุภัณฑ์นี้ส่วนใหญ่มักถือตามเกณฑ์ของเทคนิคการพิมพ์ในระบบต่างๆเป็นหลัก
    การออกแบบกราฟฟิก ถือว่าเป็นสิ่งที่มีความสำคัญต่อการบรรจุภัณฑ์เป็นอย่างมาก เพราะว่าเป็น ส่วนประกอบที่สำคัญ เหนือไปจากการบรรจุและการป้องกันผลิตภัณฑ์โดยตรงทำให้บรรจุภัณฑ์ ได้มีหน้าที่ เพิ่มขึ้นมา โดยที่ลักษณะกราฟฟิกบรรจุภัณฑ์และสลากได้แสดงบทบาทหน้าที่สำคัญ อันได้แก่
1. การสร้างทัศนคติที่ดีงามต่อผลิตภัณฑ์และผู้ผลิต กราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์และแผ่นสลาก ได้ทำหน้าที่ เปรียบเสมือนสื่อ ประชาสัมพันธ์ของผลิตภัณฑ ์ในอันที่จะเสนอต่อผู้อุปโภค บริโภคแสดงออกถึง คุณงานความดีของผลิตภัณฑ์ และความรับผิดชอบที่ ผู้ผลิตมีต่อผลิตภัณฑ์นั้น ๆ โดยท ี่ลักษณะทาง กราฟฟิก จะสื่อความหมายและปลูกฝังความรู้ ความเข้าใจ การนำผลิตภัณฑ์ไปใช้ ตลอดทั้งสร้างความต่อเนื่องของการใช้ การเชื่อถือในคุณภาพ จรกระทั่งเกิด ความศรัทธา เชื่อถือในผู้ผลิตในผลผลิตที่สุดด้วย
2. การชี้แจงและบ่งชี้ให้ผู้บริโภคทราบถึง ชนิดประเภทของผลิตภัณฑ์ ลักษณะกราฟฟิกเพื่อ ให้สื่อความหมาย หรือถ่ายทอดความรู้สึกได้ว่า ผลิตภัณฑ์คืออะไร และผู้ใดเป็นผู้ผลิตนั้น มักนิยมอาศัย ใช้ภาพและอักษรเป็นหลัก แต่ก็ยังอาศัยองค์ประกอบอื่น ๆ ในการออกแบบ เช่น รูปทรง เส้น สี ฯลฯ ซึ่งสามารถสื่อให้เข้าใจหมายหมายได้เช่น เดียวกับการใช้ภาพ และข้อความอธิบายอย่างชัดเจน ตัวอย่างงานดังกล่าวนี้มีให้เห็นได้ทั่วไป และที่เห็นชัดคือ ผลิตภัณฑ์ต่างประเทศ ที่บรรจุอยู่ในภาชนะที่ คล้ายคลึงกัน ดังเช่น เครื่องสำอาง และยา เป็นต้น แม้บรรจุอยู่ในขวดหรือ หลอดรูปทรงเหมือนกันผู้บริโภค ก็สามารถชี้ ได้ว่าอันใดคือเครื่องสำอางอันใดคือยา ทั้งนี้ก็โดนการสังเกตจากกราฟฟิก เช่น ลักษณะตัวอักษร หรือ สีที่ใช้ซึ่งนักออกแบบจัดไว้ให้ เกิดความรู้สึกผิดแผกจากกัน เป็นต้น ดังภาพที่ 10
3. การแสดงเอกลักษณ์เฉพาะ สำหรับผลิตภัณฑ์และผู้ประกอบการลักษณะรูปทรงและโครงสร้าง ของบรรจุภัณฑ์ ส่วนใหญ่มักมีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน ในผลิตภัณฑ์แต่ละประเภททั้งนี้ เพราะกรรมวิธ ีการบรรจุภัณฑ์ ใช้เครื่องจักรผลิตขึ้นมาภายใต ้มาตราฐานเดียวกัน ประกอบกับผู้แข่งขัน ในตลาดมีมาก ดังที่เห็นได้ จากผลิตภัณฑ์อาหาร สำเร็จรูปที่ผลิตและจำหน่ายอยู่อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ซึ่งมีลักษณะรูปทรง และโครงสร้างที่คล้ายคลึงกันมาก เช่น อาหารกระป๋อง ขวดเครื่องดื่มขวดยา ซองปิดผนึก( pouch ) และกล่องกระดาษเป็นต้น บรรจุภัณฑ์ต่าง ๆ เหล่านี้มักมีขนาด สัดส่วน ปริมารการบรรจุ ที่เหมือนกัน หรือใกล้เคียงกันดังนั้นการออกแบบกราฟฟิก จึงมีบทบาทหน้าที่แสดงเอกลักษณ์ หรือบุคลิกพิเศษที่เป็นลักษณะเฉพาะของตน ( brand image ) ของผลิตภัณฑ์ และ ผู้ผลิตให้เกิดความชัดเจน ผิดแผกจากผลิตภัณฑ์คู่แข่งขัน เป็นที่สะดุดตา และเรียกร้องความสนใจ จากผู้บริโภคทั้งเก่าและใหม่ให้จดจำ ได้ตลอดจนซื้อได้โดยสะดวกและรวดเร็ว
4. การแสดงสรรพคุณและวิธีใช้ ของผลิตภัณฑ์เป็นการให้ข่าวสารข้อมูลส่วนประสมหรือส่วน ประกอบที่เกี่ยว ข้องกับผลิตภัณฑ์ภายในว่ามีคุณสมบัติสรรพคุณและวิธีการใช้อย่างถูหกต้องอย่างไรบ้าง ทั้งนี้โดยการอาศัย การออกแบบการจัดวาง( lay -out ) ภาพประกอบข้อความสั้นๆ( slogan)ข้อมูลรายละเอียด ตลอดจนตรารับรอง คุณภาพและอื่น ๆ ให้สามารถเรียกร้องความสนใจ จากผู้บริโภคให้หยิบยกเอาผลิตภัณฑ์ขึ้นมาพิจารณา เพื่อตัดสินใจเลือกซื้อ การออกแบบกราฟฟิคเพื่อแสดง บทบาทในหน้าที่นี้จึงเปรียบจึงเปรียบเสมือน การสร้างบรรจุภัณฑ์ให้เป็นพนักงานขายเงียบ ( the silent salesman )ที่ทำหน้าที่โฆษนา ประชาสัมพันธ์ แทนคนณ บริเวณจุดซื้อ( point of purchase ) นั้นเอง
    บรรจุภัณฑ์เป็นตัวแทนของกระบวนการส่งเสริมการขายทางด้านการตลาด
ณ จุดขายที่สามารถจับต้องได้ เปรียบเสมือนกุญแจ ดอกสุดท้ายที่ จะไขผ่าน
ประตูแห่งการตัดสินใจซื้อ บรรจุภัณฑ์สามารถ ทำหน้าที่เป็นสื่อโฆษนา ได้อย่าง
ดีเยี่ยม ณ จุดขาย เพราะบรรจุภัณฑ์เป็นงานพิมพ์ 3 มิติและมีด้านทั้งหมดถึง 6 ด้าน
ที่จะสามารถใช้เป็นสื่อโฆษณา ได้ดีกว่าแผ่นโฆษณาที่มีเพียง 2 มิติหรือด้านเดียว
    นักออกแบบบางท่าน ได้เปรียบเทียบการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ว่าเปรียบ
เสมือนร่างกายของมนุษย์ เริ่มต้นจากรูปทรงของบรรจุภัณฑ์ อันได้แก่ ทรงสี่เหลี่ยม
ของกล่อง ทรงกลมของขวด หรือกระป๋อง เป็นต้น รูปทรงเหล่านี้เปรียบได้กับตัว
โครงร่างกายมนุษย์ สีที่ออกแบบบรรจุภัณฑ์เปรียบ เสมือนผิวหนังของมนุษย์
คำบรรยายบนบรรจุภัณฑ์ เปรียบได้กับปากที่กล่าวแจ้งแถลงสรรพ คุณของสินค้า
การออกแบบทั้งหมด ของบรรจุภัณฑ ์จึงเปรียบเสมือนระบบการทำงานของ
มนุษย์ ในการออกแบบนักออกแบบ จะนำเอาองค์ประกอบ ต่าง ๆ อันได้แก่
กลยุทธ์การตลาด ช่องทางการจัดจำหน่าย และสภาวะคู่แข่งขันมาเป็นแนวความคิด
ในการออกแบบ ให้สนองกับจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ ด้วยเหตุนี้ ในแง่ของนักออกแบบ
บรรจุภัณฑ์ การออกแบบอาจจะเขียน เป็นสมการอย่างง่าย ๆ ได้ดังนี้
        การออกแบบ = คำบรรยาย + สัญลักษณ์ + ภาพพจน์
                Design = Words + Symbols + Image
    ในสมการนี้ คำบรรยาย และสัญลักษณ์มีความเข้าใจ ตามความหมายของคำ ส่วน
ภาพพจน์นั้น ค่อนข้าง จะเป็นนามธรรม เนื่องจากการออกแบบภาพพจน์เป็นศิลปะอย่าง
หนึ่ง ซึ่งอาจแสดงออกได้ด้วย จุด เส้น สี รูปวาด และรูปถ่าย ผสมผสานกัน ออกมาเป็น
พาณิชย ์ศิลป์บนบรรจุภัณฑ์ ด้วยหลักการง่าย ๆ 4ประการ คือ SAFE ซึ่งมีความหมายว่า
            S = Simple เข้าใจง่ายสบายตา
            A = Aesthetic มีความสวยงาม ชวนมอง
            F = Function ใช้งานได้ง่าย สะดวก
            E = Economic ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม






บรรจุภัณฑ์

บรรจุภัณฑ์







บรรจุภัณฑ์คืออะไร
“บรรจุภัณฑ์” หมายถึง สินค้าทุกชนิดที่ทำจากวัสดุใดๆ ที่นำมาใช้สำหรับห่อหุ้ม ป้องกัน ลำเลียง จัดส่ง และนำเสนอสินค้า ตั้งแต่วัตถุดิบถึงสินค้าที่ผ่านการผลิต ตั้งแต่ผู้ผลิตถึงผู้ใช้หรือผู้บริโภค
“บรรจุภัณฑ์” ประกอบด้วย บรรจุภัณฑ์สำหรับการขาย (Sales packaging) หรือบรรจุภัณฑ์ลำดับที่หนึ่ง ได้แก่บรรจุภัณฑ์ที่ใช้เป็นส่วนหนึ่งของการขายของให้กับผู้ใช้รายสุดท้ายหรือผู้บริโภค ณ จุดซื้อ บรรจุภัณฑ์กลุ่ม (Group packaging) หรือบรรจุภัณฑ์ลำดับที่สอง ได้แก่บรรจุภัณฑ์ที่ใช้ที่จุดซื้อกลุ่มสินค้าที่มีจำนวนขายมากกว่าหนึ่ง ไม่ว่าสินค้านั้นจะถูกขายให้กับผู้ใช้รายสุดท้ายหรือผู้บริโภคหรือไม่ก็ตาม และไม่ว่าบรรจุภัณฑ์นี้จะถูกใช้เพื่อการดึงสินค้าจากชั้นวางของ ณ จุดขายก็ตาม บรรจุภัณฑ์นี้สามารถถูกดึงออกจากสินค้าโดยไม่ส่งผลกระทบต่อลักษณะเฉพาะตัวของสินค้า บรรจุภัณฑ์สำหรับการขนส่ง หรือบรรจุภัณฑ์ลำดับที่สาม ได้แก่ บรรจุภัณฑ์ที่ใช้สำหรับช่วยในการลำเลียงและขนส่งสินค้า ที่ขายจำนวนมากหรือกลุ่มบรรจุภัณฑ์ เพื่อป้องกันความเสียหายทางกายภาพระหว่างการขนส่ง บรรจุภัณฑ์สำหรับการขนส่งไม่รวมตู้คอนเทนเนอร์สำหรับการขนส่งทาง ถนน รางเลื่อน เรือหรือทางอากาศ
การตีความหมายของคำว่า “บรรจุภัณฑ์” ให้ถือตามเกณฑ์ต่อไปนี้
จะถือว่าของสิ่งหนึ่งเป็นบรรจุภัณฑ์ ต่อเมื่อของสิ่งนั้นเป็นไปตามความหมายที่กล่าวข้างต้น โดยไม่พิจารณาคาบเกี่ยวกับหน้าที่อื่นที่บรรจุภัณฑ์อาจทำได้ เว้นแต่สิ่งสิ่งนั้นจะถูกผนวกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสินค้า และมีความจำเป็นเพื่อห่อหุ้ม พยุง หรือถนอมรักษาสินค้าตลอดอายุของสินค้านั้น และมีวัตถุประสงค์ให้ใช้ บริโภค หรือทิ้ง องค์ประกอบทุกชิ้นพร้อมกับสินค้าตัวอย่าง
สิ่งที่ถือเป็นบรรจุภัณฑ์ตามเกณฑ์นี้ ได้แก่: กล่องขนมหวาน แผ่นฟิล์มห่อรอบกล่องซีดี
ตัวอย่างสิ่งที่ไม่ถือเป็นบรรจุภัณฑ์ตามเกณฑ์นี้ ได้แก่: กระถางดอกไม้ที่มุ่งหวังให้อยู่คู่กับต้นไม้ตลอดอายุของต้นไม้ กล่องใส่เครื่องมือช่าง ถุงชา ชั้นแว็กซ์ห่อหุ้มเนยแข็ง ผิวหุ้มไส้กรอก เป็นต้น
ให้ถือว่า สิ่งที่ถูกออกแบบและมีวัตถุประสงค์ให้เติมเต็ม ณ จุดขาย และขายสิ่งที่ทิ้งได้ ที่ถูกเติมเต็มหรือออกแบบและมีวัตถุประสงค์ให้เติมเต็ม ณ จุดขาย เป็นบรรจุภัณฑ์ หากสิ่งสิ่งนั้น ทำหน้าที่เป็นบรรจุภัณฑ์
ตัวอย่างสิ่งที่ถือเป็นบรรจุภัณฑ์ตามเกณฑ์นี้ ได้แก่: ถุงหิ้วทำจากกระดาษหรือพลาสติก จานหรือถ้วยที่ใช้แล้วทิ้ง พลาสติกใสปิดหน้าอาหาร (พลาสติกแรป) ถุงแซนวิช แผ่นฟอลย์อลูมิเนียม เป็นต้น
ตัวอย่างสิ่งที่ไม่ถือเป็นบรรจุภัณฑ์ตามเกณฑ์นี้ ได้แก่: ที่คน มีดแบบใช้แล้วทิ้ง เป็นต้น
ให้ถือว่า ส่วนประกอบของบรรจุภัณฑ์ หรือส่วนช่วยที่รวมอยู่ในบรรจุภัณฑ์ เป็นส่วนหนึ่งของบรรจุภัณฑ์ที่รวมองค์ประกอบเหล่านั้น ให้ถือว่า ส่วนช่วยที่แขวนโดยตรงกับหรือติดกับสินค้าที่ทำหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์ เป็นบรรจุภัณฑ์ เว้นแต่ของเหล่านั้นจะเป็นส่วนหนึ่งของสินค้า และมีวัตถุประสงค์ให้บริโภค และทิ้งองค์ประกอบทุกชิ้นพร้อมกับสินค้าตัวอย่าง
สิ่งที่ถือเป็นบรรจุภัณฑ์ตามเกณฑ์นี้ ได้แก่: แผ่นป้าย Label ที่แขวนโดยตรงหรือติดบนตัวสินค้า เป็นต้น
ตัวอย่างสิ่งที่ถือเป็นส่วนหนึ่งของบรรจุภัณฑ์ตามเกณฑ์นี้ ได้แก่: แปรงมาสคาร่า ที่เป็นส่วนหนึ่งของฝาปิดตลับมาสคาร่า Label ที่ติดกับบรรจุภัณฑ์ชิ้นอื่น ลวดเย็บกระดาษ ซองพลาสติก

ผลิตภัณฑ์สมุนไพรของจังหวัด ชัยนาท
เขตอำเภอ วัดสิงห์ หรัส 17120
(วันที่ 22 / สค. / 58)

สัมภาษณ์ผู้ประกอบการแบรนด์ "คลองมอญ"
ผลิตภัณฑ์ บุหงาพาหอม


ผู้ให้ข้อมูล / เจ้าของแบรนด์ : นาง สินมงคล อินธนู
อายุ : 46 ปี
ตำแหน่ง : ค้าขาย
ประสบการณ์ทำงาน : 8 ปี
ที่อยู่ : 58 ม.4 หมู่บ้านคลองมอญ ถ.ชัยนาท-วัดสิงห์ ต.มาขามเฒ่า อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท 17000
เบอร์โทรติดต่อ : 056-475567 , 087-2071795

















ที่มา : นางสาวภาชินี ไชยวุฒิ
วันที่ 22 สค. 58